ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านชีวกลศาสตร์และนวัตกรรมการผ่าตัดกระดูกสันหลัง

ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านชีวกลศาสตร์และนวัตกรรมการผ่าตัดกระดูกสันหลัง

ผลิตองค์ความรู้ระดับนานาชาติ พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็ก พัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็ก

  1. เป็นผู้นำด้านการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็กในประเทศไทย
  2. ผลิตองค์ความรู้ระดับนานาชาติ
  3. บูรณาการ การดูแลรักษาผู้ป่วย ระหว่างหน่วยงานหรือภาควิชาต่างๆที่เกี่ยวข้อง อาทิ ภาควิชาวิสัญญี ภาควิชารังสีวิทยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
  4. ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็ก
  5. พัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งเป็นศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็กครบวงจร ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

Research & Innovation Focus ​

Health and Well-Being + Health
Health and Well-Being + Disaster & Environment
Health and Well-Being + Health

วัตถุประสงค์

SDG03 พัฒนาการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็ก ลดระยะเวลาพักฟื้นของผู้ป่วย เพิ่มจำนวนเคสผ่าตัดได้มากขึ้น โดยมีการบูรณาการระหว่างหลายๆสาขาวิชา อาทิ วิสัญญี ช่วยให้การผ่าตัดในการใช้ยาลดความเจ็บปวด หรือคณะวิศวกรรม ที่ช่วยในการออกแบบเครื่องมือผ่าตัดให้มีความทันสมัยและแม่นยำมากขึ้น

เป้าหมายใน 3 ปี

  1. ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็ก
  2. พัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งเป็นศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการผ่าตัดกระดูกสันหลังแบบแผลเล็กครบวงจร ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ผลงานวิจัยเด่น

  1. Outcomes following Laminoplasty or Laminectomy and Fusion in Patients with Myelopathy Caused by Ossification of the Posterior Longitudinal Ligament: A Systematic Review
  2. Comparison of Unremoved Intervertebral Disc Location Between 2 Lateral Lumbar Interbody Fusion (LLIF) Techniques
  3. Perioperative Intravenous Nefopam on Pain Management and Ambulation after Open Spine Surgery: A Randomized Double-Blind Controlled Study

เครือข่ายและความร่วมมือ

  • รังสีวิทยา

  • วิสัญญี

ข้อมูลติดต่อกลุ่มวิจัย

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์

วรวรรธน์ ลิ้มทองกุล

หัวหน้ากลุ่มวิจัย

คณะแพทยศาสตร์

(Faculty of Medicine)​
สังกัดของกลุ่มวิจัย

อาคารรัตนวิทยพัฒน์ ชั้น 12 ออร์โธปิดิกส์ 1873 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330