ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางพยาธิวิทยาในสัตว์ป่า สัตว์เลี้ยงพิเศษและสัตว์น้ำ

ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางพยาธิวิทยาในสัตว์ป่า สัตว์เลี้ยงพิเศษและสัตว์น้ำ

เพื่อศึกษาวิจัย เป็นแหล่งอ้างอิง พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ การเฝ้าระวังโรค การศึกษาพยาธิวิทยาเปรียบเทียบในทางการแพทย์ และผลิตบัณฑิตศึกษา และบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะด้านพยาธิวิทยา

Research & Innovation Focus ​

Food & Agriculture + Health
Health and Well-Being + BCG
Health and Well-Being + Food & Agriculture

วัตถุประสงค์

  1. การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล
  2. การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศน์ทางบก
  3. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เป้าหมายใน 3 ปี

  1. ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อจะยุติการล่าและการขนย้ายชนิดพันธุ์พืชและสัตว์คุ้มครอง และแก้ปัญหาทั้งอุปสงค์และอุปทานต่อผลิตภัณฑ์สัตว์ป่าที่ผิดกฎหมาย
  2. นำมาตรการมาใช้เพื่อป้องกันการนำเข้าและลดผลกระทบของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรายในระบบนิเวศบกและน้ำและควบคุมหรือขจัด priority species
  3. บูรณาการมูลค่าของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพเข้าไปสู่การวางแผนกระบวนการพัฒนา ยุทธศาสตร์การลดความยากจน และบัญชีทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ

ผลงานวิจัยเด่น

  1. พยาธิวิทยาในสัตว์ป่า
  2. พยาธิวิทยาในสัตว์เลี้ยงพิเศษ
  3. พยาธิวิทยาในสัตว์น้ำ

เครือข่ายและความร่วมมือ

  • ชมรมพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์แห่งประเทศไทย
  • Asian Society of Veterinary Pathology
  • Davis-Thompson Foundation

ข้อมูลติดต่อกลุ่มวิจัย

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.

นพดล พิฬารัตน์

หัวหน้ากลุ่มวิจัย

คณะสัตวแพทยศาสตร์

(Faculty of Veterinary Science)
สังกัดของกลุ่มวิจัย

ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.อังรีดูนังต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กทม 10330