ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการวิเคราะห์ความเสี่ยงอาหารและน้ำ

ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการวิเคราะห์ความเสี่ยงอาหารและน้ำ

การยกระดับความปลอดภัยด้านสาธารณสุข สุขภาพสัตว์และสิ่งแวดล้อม ผ่านการวิเคราะห์ความเสี่ยงอาหารและน้ำ

  1. การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment) การประเมินโอกาสหรือความเป็นไปได้ในการเกิดผลกระทบทางสุขภาพจากอันตรายจุลินทรีย์และอันตรายเคมีในอาหารและน้ำ,
  2. การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) การลดโอกาสหรือควบคุมอันตรายจุลินทรีย์และอันตรายเคมีในอาหารและน้ำ,
  3. การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) การเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงและ การจัดการความเสี่ยงให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดห่วงโซ่อาหารและน้ำ

Research & Innovation Focus ​

Health and Well-Being + Health
Health and Well-Being + BCG
Health and Well-Being + Industry 4.0

วัตถุประสงค์

  1. การขอรับการสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนวิจัยภายนอกมหาวิทยาลัย (PMU) เพื่อดำเนินการ การประเมินและจัดการความเสี่ยงอันตรายจุลินทรีย์และเคมีที่ปนเปื้อนในน้ำและอาหารที่กระทบต่อสาธารณสุข (public health), การประเมินและจัดการความเสี่ยงอันตรายจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำที่กระทบต่อการผลิตปศุสัตว์ (animal health)
  2. การเผยแพร่ข้อมูลความรู้ที่ได้จากโครงการวิจัยให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิทยาศาสตร์ระดับ T1 หรือ Q1

เป้าหมายใน 3 ปี

  1. Food and Agriculture
  2. Health and Well-being
  3. Net Zero

* Prioritized by numerical order

ผลงานวิจัยเด่น

  • ความปลอดภัยอาหารและน้ำ
    • อาหารริมบาทวิถี แมลงกินได้ เนื้อสัตว์จากเซลล์ต้นกำเนิดกล้ามเนื้อ หอยสองฝา หอยนางรม ผลิตภัณฑ์สุกร
    • น้ำประปา เขตเมือง ชนบท และ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น (ประปาหมู่บ้าน เทศบาลเมือง
  • สาธารณสุข เช่น การวินิจฉัยโรค Covid-19 โรคไข้หูดับ
  • สุขภาพสัตว์และสิ่งแวดล้อม เช่น โภชนศาสตร์สัตว์ โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร การหมุนเวียนมูลสุกรเป็นอาหารสัตว์โดยใช้แมลงโปรตีนอย่างปลอดภัย

เครือข่ายและความร่วมมือ

  • กระทรวงสาธารณสุข เช่น กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อย.
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น กรมปศุสัตว์ กรมประมง กรมวิชาการเกษตร
  • กระทรวงมหาดไทย เช่น การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
  • มหาวิทยาลัย เช่น เทคโนโลยีราชมงคล ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลานครินทร์

ข้อมูลติดต่อกลุ่มวิจัย

รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.

ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ

หัวหน้ากลุ่มวิจัย

คณะสัตวแพทยศาสตร์

(Faculty of Veterinary Science)
สังกัดของกลุ่มวิจัย

คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.อังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

Tel. (+66) 2218 9578

E-mail: suphachai.n@chula.ac.th, suphachairisk@gmail.com